[หน้าหลัก] [แนะนำภาควิชาฯ] [หลักสูตรระดับปริญญาตรี] [หลักสูตรระดับปริญญาโท] [บุคลากร] [นักศึกษา] [ห้องปฎิบัติการ] [งานวิจัย] [บริการวิชาการ] [เอกสาร/ตำราวิชาการ]
[ประชาสัมพันธ์]
[คณะกรรมการบริหารหลักสูตร] [ภาพกิจกรรม] [หน้าแรกคณะทรัพย์ฯ] [ติดต่อภาควิชาฯ]


ชื่อ-สกุล : ดร.อัจฉรา เพ็งหนู : Assoc.Prof.Dr.Ashara Pengnoo
ตำแหน่ง : รองศาสตราจารย์
ตำแหน่งบริหาร: ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติภาคใต้
วุฒิการศึกษา : วท.บ. สาขาปฐพีศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วท.ม. สาขาปฐพีศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Ph.D. Bioresources and Product Science, Hokkaido University, Japan
สาขาชำนาญการ: การใช้จุลินทรีย์และการพัฒนาชีวภัณฑ์เพื่อการปรับปรุงดิน ส่งเสริมการ เจริญเติบโตของพืชและควบคุมศัตรูพืช
สถานที่ติดต่อ : ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90112
โทรศัพท์ : 0-7428-6186, 0-7455-8809 ภายใน 6186  
โทรสาร : 0-7455-8809 
E-mail : ashara.p@psu.ac.th
ห้องพัก : 254 อาคาร 2 ชั้น 2 หรือ 353/3 อาคาร 2 ชั้น 3

ภาระะงานสอน
ระดับปริญญาตรี รายวิชา

-  542-211 : INTRODUCTION TO SOIL SCIENCE

-  542-321 : SOIL FERTILITY

-  542-391 : SOIL SCIENCE PRACTICE

-  542-442 : FERTILIZER TECHNOLOGY

-  542-451 : SOIL MICROBIOLOGY

- 542-498 : SPECIAL PROBLEMS

- 542-499 : COOPERA EDUCATION IN SOIL SCI

     

ระดับปริญญาโท

 

 
รายวิชา

-  542-514 : SOIL BIOTECHNOLOGY

- 542-524 : SUS TROPICAL SOILS MANAG

-  542-599 : THESIS

-  542-699 : THESIS


ผลงานทางวิชาการ


หนังสือ/ตำรา -

บทความทางวิชาการ -

บริการวิชาการ 2560 : 

ธนกฤต เลิศจันทรางกูล อัจฉรา เพ็งหนู วันวิสาข์ ปั้นศักดิ์ และวิภา หอมหวล. 2560. ประสิทธิภาพของแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนแบบอิสระต่ออัตราการงอกเมล็ดของข้าว. การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 13 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก. หน้า 359-367 (การะชุมวิชาการ Nation) (


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเรื่องการจัดการธาตุอาหารผักไฮโดรโพนิกส์ ศัตรูของผักไฮโดรโพนิกส์และการควบคุมศัตรูของผักไฮโดรโพนิกส์โดยชีววิธี การใช้ชีวภัณฑ์ Bacillus Subtilis ควบคุมโดรคของผักไฮโดรโพนิกส์. สมุทรปราการ: มูลนิธิโครงการลูกพระดาบส, 19 มิถุนายน 2560.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเรื่องการผลิตพืชผัก/ผักไฮดดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี.กรุงเทพฯ: มูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 31 พฤษภาคม 2560.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเรื่องการผลิตผักไฮโรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี.กรุงเทพฯ: มูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 29 พฤษภาคม 2560.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.บรรยายหัวข้อชีวภัณฑ์ Bacillus Subtilis เพื่อผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัย.กรุงเทพฯ:ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26 พฤษภาคม 2560.


    อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี.เพชรบุรี: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, 13 มกราคม 2560.
   

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบริหารจัดการโรคและแมลงสัตรูข้าวโดยชีววิธี.ฉะเชิงเทรา: วัดสว่างอารมณ์ อำเภอบางเปรี้ยว, 12 มกราคม 2560.


  2559 : 

อัจฉรา เพ็งหนู ปรารถนา อัตตะมณี ยุวพร รักล้วน และอุสมาน เล๊าะและ.อบรมหลักสูตรผักไฮโดรโปนิกส์และวิธีปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ที่หนูทำได้. สงขลา: โรงเรียนสุวรรณวงศ์, 15 กันยายน 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบริหารจัดการฟาร์มผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี.เพชรบูรณ์: เขาค้อทะเลภู, 3 กันยายน 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมหลักสูตรการผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี.สมุทรปราการ: ห้องประชุมโครงการลุกพระดาบส สมุทรปราการตามพระราชดำริ สมุทรปราการ, 29 กรกฎาคม 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเชิงปฏิบัติการปัญหาและการป้องกันรารากขาวในยางพารา. สงขลา: ทีทำการผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 โคกม่วง, 27 กรกฎาคม 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง”การใช้จุลินทรีย์ปฏิบัติปักษ์ในการควบคุมโรคและแมลงศัตรูข้าว”.เพชรบุรี: โครงการสาธิตพืชไร่-พืชสวน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ, 23 สิงหาคม 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยจารสารพิษ. กระบี่:   ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกระบี่, 26 เมษายน 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สำนักงานบางเขน, 16 กุมภาพันธ์ 2559.


   

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการผลิตผักไฮโดรโพนิกส์ปลอดภัยโดยชีววิธี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสายใจไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สำนักงานบางเขน,
16 กุมภาพันธ์ 2559


  2558 : 

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปลูกผักไฮโดรโพนิกส์เพื่อสุขภาพ. สงขลา: สโมสรค่ายเสนาณรงค์, 4 ตุลาคม 2558



 

อัจฉรา เพ็งหนู.อบรมเชิงปฏิบัติการควบคุมศัตรูข้าวโดยชีววิธี. เชียงราย: ศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านเกษตรยั่งยืน, 28-29 สิงหาคม 2558


   

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมหลักสูตรการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพและการนำวัสดุจากภาคอุตสาหกรรมมาเพิ่มมูลค่าเชิงพาณิชย์. สงขลา: สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสงขลา, 26 มิถุนายน 2558


   

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้ (KM) ด้านการเรียนการสอนและวิจัย. สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 13 กุมภาพันธ์ 2558



   

อัจฉรา เพ็งหนู. อบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้ชีวภัณฑ์ Bacillus Megaterium เพื่อควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าว. แพร่ : ศาลาประชาคมบ้าน, 30 มกราคม,
27 กุมภาพันธ์ 2558


 

 

   

งานวิจัย    
  2561 : 

พิชาญา  ธงสุวรรณ พนิดา  คงสวัสดิ์วรกุล จรัญญา  ณรงคะชวนะ อรภัค  เรี่ยมทอง อัจฉรา  เพ็งหนู
และอัญชีรา  วิบูลย์จันทร์. 2561. การบ่งชี้ชนิดของโปรตีนที่มีการแสดงออกแตกต่างกันใน
ต้นยางพาราที่ติดเชื้อโรครากขาว. วารสารวิชาการเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน. 1(1) : 28-36.

 

  2560 : 

ธนกฤต เลิศจันทรางกูล อัจฉรา เพ็งหนู วันวิสาข์ ปั้นศักดิ์ และวิภา หอมหวล. 2560. ประสิทธิภาพของแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนแบบอิสระต่ออัตราการงอกเมล็ดของข้าว. การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 13 20-21 กรกฎาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก. หน้า 359-367 (การประชุมวิชาการ Nation)

 

  2558 :  

Chumthong, A., Wiwattanapatapee, R., Viernstein, H., Pengnoo, A. and Kanjanamaneesathian, M. 2015. Spray-dried Powder of Bacillus megaterium for Control of Rice Sheath Blight Disease: Formulation Protocol and Efficacy Testing in Laboratory and Greenhouse. Cereal Research Communications.  44(1) : 131-140.44 (

 

   

ขนบพร  พงศ์พรหม และอัจฉรา  เพ็งหนู. 2558. ผลของ Bacillus spp. ต่อการเจริญของไรโซเบียมและ     การละลายฟอสเฟต. วารสารวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร. 32 (3) : 10-20.

 

  2557 :  

ธีระพงศ์  จันทรนิยม และอัจฉรา  เพ็งหนู. 2557. การผลิตปุ๋ยหมักจากวัสดุเศษเหลือในโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม. วารสารเคหการเกษตร. 38 (11) : 234-237.

 

  2556 :

ทัศนีย์   แก้วมรกฎ  จำเป็น  อ่อนทอง  และอัจฉรา  เพ็งหนู.  2556. องค์ประกอบและการปลดปล่อยธาตุอาหารของเศษหอมแดง  มูลแพะ  และกระดูกโคเผาป่น.  วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.  8 (2) :  130-145.

 

   

R.Wiwattanapatapee, A. Chumthong, A.Pengnoo and M.Kanjanamaneesathian. 2013. Preparation and
evaluation of Bacillus megaterium-alginate microcapsules for control of rice sheath blight
disease.  World J Microbiol Biotechnol 29:1487-1497.

 

   

Kanjanamaneesathian, M., Wiwattanapatapee, R., Rotniam, W., Pengnoo, A., Wongpetkhiew, W., and Tanmala, V.  2013. Application of a suspension concentrate formulation of Bacillus velezensis to control root rot of hydroponically-grown vegetables. New Zealand Plant Protection 66 : 229-234.

 

 

2555 :

 

Chanjula, P. and  Pengnoo, A. 2012 . Influence of Replacing Soybean Meal with Yeast Fermented palm Kernel Cake in Concentrate on Nutrient Utilization and Rumen Fermentation Characteristics in Goats. September 14 - 15, 2012. Khon Kaen, Thailand. 

  2554 :

ฉันทนา คงนคร, จิระ สุวรรณประเสริฐ, สะฝีหย๊ะ ราชนุช, สุคนธ์ วงศ์ชนะ, รังษี เจริญสถาพร และอัจแรา เพ็งหนู. 2554. ผลของสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชต่อประสิทธิภาพของจุลทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบไหม้ของถั่วหรั่ง. วารสารแก่นเกษตร. 39 ฉบับพิเศษ 3: 312-318.

 

  2552 :   วานิด รอดเนียม วิจิตร์ ตันมาละ บุญมา ดีแสง ปฐมพงศ์ วงษ์เลี้ยง มานะ กาญจนมณี-เสถียร และอัจฉรา เพ็งหนู. 2552. ผลของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus spp. ต่อเชื้อรา Alternaria spp. สาเหตุโรคใบจุดของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์. วารสารโรคพืช. 23(1) : 31-40.

Kantachote,D., Kowpong, K., Charernjiratrakul, W., and Pengnoo, A. 2009. Microbial succession in a fermenting of wild forest noni (Morinda coreia Ham) fruit plus molasses and its role in producing a liquid fertilizer. Electronic Journal of Biotechnology.12 (3) : 1-11
2551 :   จารุณี หนูมาก อัจฉรา เพ็งหนู ฤดีกร วิวัฒนปฐพี และมานะ กาญจนมณีเสถียร. 2551. การทดสอบประสิทธิภาพเชื้อ Bacillus megaterium ในห้องปฏิบัติการเพื่อยับยั้งเชื้อราโรคพืชในดิน. วารสารเกษตรนเรศวร. 11 : 167-173.

พิชนันท์ กังแฮ อัจฉรา เพ็งหนู และมานะ กาญจนมณีเสถียร. 2551. ผลของโพแทสเซียม และแอมโมเนียมต่อการเจริญเชื้อ Pythium spp. สาเหตุโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์. วารสารเกษตรนเรศวร. 11 : 134-139.

Chumthong A., Kanjanamaneesathian M., Pengnoo A. and Wiwattanapatapee R. 2008. Water-soluble granules containing Bacillus megaterium for biological control of rice sheath blight: Formulation,bacterial viability and efficacy testing. World Journal of Microbiology and Biotechnology. 24 (11) : 2499-2507.

2550 :   Kanjanamaneesathian, M., Wiwattanapatapee, R., Pengnoo, A., Oungbho, K. and Chumthong A. 2007. Efficacy of novel formulations of Bacillus megaterium in suppressing sheath blight of rice caused by Rhizoctonia solani. Plant Pathology Journal. 6 (2) :195-201.

Sawangsri, P., Pengnoo, A., Suwanprasert, J. and Kanjanamaneesathian, M. 2007. Effect of Trichoderma harzianum biomass and Bradyrhizobium sp. strain NC 92 to control leaf blight disease of bambara groundnut (Vigna subterranea) caused by Rhizoctonia solani in the field Songklanakarin Journal of Science and Technology 29 (1): 15-24

Onthong, J., Gimsaguan, S., Pengnoo, A. Nilnond, C and Osaki, M. 2007. Effecf of pH and some cations on activity of acid phosphatase secreted from Ustilago sp. isolated from acid sulphate soil Songklanakarin Journal of Science and Technology 29 (2) : 275-286

Wiwattanapatapee, R., Chumthong, A., Pengnoo, A. and Kanjanamaneesathian, M. 2007. Effervescent fast-disintegrating bacterial formulation for biological control of rice sheath blight. Journal of Control Release. 119 : 229-235.

2549 :   Pengnoo, A., Hashidoko, Y., Onthong, J., Gimsaguan, S., Sae-Ong, M., Shinano, T. and Osaki, M. 2006. Screening of phosphate-solubilizing microorganisms in rhizosphere and rhizoplane of adverse soil-adapting plants in Southern Thailand. Tropics. 16 : 25-37.

Pengnoo, A., Wiwattanapatapee, R., Chumthong, A. and Kanjanamaneesathian, M. 2006. Bacterial antagonist as seed treatment to control leaf blight disease of bambara groundnut (Vigna subterranea). World Journal of Microbiology and Biotechnology. 22(1) : 9-14.

2548 :   อมรรัตน์ ชุมทอง อัจฉรา เพ็งหนู วิษณุ สมทรัพย์ และมานะ กาญจมณีเสถียร. 2548. ผลของระดับความเข้มข้นและ pH ของสารละลายSomasegaran และเชื้อไรโซเบียมต่อการเจริญเติบโตของถั่วหรั่ง (Vigna subterranea (L.) Verdc.) วารสารแก่นเกษตร. 33 : 52-63.

Panapitukkul, N., Pengnoo, A., Siriwong, C. and Chatupote, W. 2005. Hydrogeo-morphological controls on groundwater quality in the Rattaphum catchment (Songkla Lake basin), Thailand. Water, Air, Soil Pollution. 5 : 145-163.

Pengnoo, A., Wiwatanapatapee, R., Chumthong, A., Rotniam, W. and Kanjanamaneesathian, M. 2005. Preliminary study on the effect of culture medium on the number and size of endospores of Bacillus megaterium. Silpakorn University Science and Technology Journal. 5 (1-2) : 129-139.

Rotjanarat, W., Wiwattanapatapee, R., Pengnoo, A., Oungbho, K. and Kanjanamaneesathian, M. 2005. Efficacy of Bacillus megaterium granules in suppressing rice sheath blight Disease Rhizoctonia solani. Phytochemicals and Natural Products for the Progress of Mankind. In The Forth International Conference on Biopesticides. Chiang Mai, Thailand. p. 51.

Wiwattanapatapee, R., Pengnoo, A., Chumthong, A. and Kanjanamaneesathian, M., 2005. Formulation of bacterial antagonist Bacillus firmus for control of leaf blight disease of Bambara groundnut, Vigna subterranea. 2005. Phytochemicals and Natural Products for the Progress of Mankind. In The Forth Internationall Conference on Biopesticides. Chiang Mai, Thailand. p. 39.

Chumthong, A., Wiwattanapatapee, R., Pengnoo, A., Nilaratana, L. and Kanjanamaneesathian, M. 2005. Culture and production of Bacillus megatirium endospore, antagonists of Rhizoctonia solani, from cheap substrate. 2005. Phytochemicals and Natural Products for the Progress of Mankind. In The Forth International Conference on Biopesticides. Chiang Mai, Thailand. p. 88. 

2547 :   Wiwattanapatapee, R., Kanjanamaneesathian, M., Pengnoo, A., Oungbho, K., Rojanarat, W. and Chumthong, A. 2004. Efficacy of bacterial antagonist formulation in suppressing sheath blight of rice Experience Innovative Science in Spectacular Scenery. In 31st Annual Meeting and Exposition of the Controlled Release Society. Honolulu, Hawaii, U.S.A. p. 071.

Wiwattanapatapee, R., Pengnoo, A., Kanjanamaneesatian, M., Nilratana, L. and Jantharangsri, A. 2004. Floating pellets containing bacterial antagonist for control sheath blight of rice:formulations, viability and bacterial release studies. Journal of Control Release. 95 : 453-460.


งานวิจัยที่กำลังดำเนินงาน


งานวิจัย    
   

การใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ร่วมกับการจัดการระบบปลูกเพื่อการผลิตยางพาราและผักไฮโดรโพนิกส์ (พ.ย.2561-ต.ค.2562

 

   

การจัดการดินและการใช้ชีวภัณฑ์ Bacillus megaterium เพื่อพัฒนาการผลิตข้าวของอำเภอรัตนภูมิ จังหวัดสงขลา (ต.ค.2560- ก.ย. 2561)

 

   

หมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ แหล่งทุน : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เม.ย.-ก.ย.2560)

 

   

การควบคุมโรครากขาวของยางพาราโดยชีววิธีร่วมกับการจัดการดิน

แหล่งทุน : ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร (เม.ย.2560-มี.ค.2562)

   

ผลของการจัดการดินและแบคทีเรียปฏิปักษ์ต่อการควบคุมโรครากขาวของยางพารา

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (ต.ค.58-ก.ย.59)

   

การถ่ายทอดเทคโนโลยีสำหรับการผลิตผักในระบบไฮโดรโพนิกส์โดยชีววิธีในภาคใต้

แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (ต.ค.57-พ.ค.58)

 

การพัฒนาชีวภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์รูปแบบ ของเหลวเพื่อควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าว

แหล่งทุน : สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.)
ระยะเวลา : 3 ปี (2550-2553)

  การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์เพื่อควบคุมโรคที่เกิดจาก เชื้อราเข้าทำลายบริเวณรากพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดย ชีวินทรีย์แห่งชาติ)
ระยะเวลา : 3 ปี (2550-2553)
  การทดสอบประสิทธิภาพชีวภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus megaterium เพื่อควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าวในแปลงทดลองระดับไร่นา
แหล่งทุน : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ระยะเวลา : 1 ปี (2552-2553)
  การคัดเลือก Bacillus spp. ที่สามารถละลายฟอสฟอรัสเพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของถั่วเหลือง
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (มหาวิทยาลัยนเรศวร)
ระยะเวลา : 1 ปี (2553-2554)
  การคัดเลือกแบคทีเรียปฏิปักษ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์แบคทีเรีย ปฏิปักษ์ เพื่อควบคุมโรคพืชที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์
แหล่งทุน : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (มหาวิทยาลัยศิลปากร)
ระยะเวลา : 2 ปี (2553-2555)
  ความหลากหลายของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ทางการเกษตร
แหล่งทุน : โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืชเขื่อนรัชช- ประภา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ระยะเวลา : 1 ปี (2553-2554)
   

โครงการวิจัยร่วมมือกับภาคเอกชน 1. ชื่อข้อเสนองานวิจัย : โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและคุณภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ของโรงงานผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้จากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม
แหล่งทุน : โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย เครือข่ายคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ภาคเอกชนที่ร่วมงาน : บริษัท วิจิตรภัณฑ์สวนปาล์ม จำกัด
ระยะเวลา : 8 เดือน (ก.ค.52-ก.พ.53)

2. ชื่อข้อเสนองานวิจัย : โครงการศึกษาและพัฒนาปุ๋ยอินทรีย์จากเศษวัสดุอินทรีย์
แหล่งทุน : โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย เครือข่ายคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ภาคเอกชนที่ร่วมงาน : หจก. พัทลุง เอ็น.พี.ซีวิล
ระยะเวลา : 5 เดือน (ต.ค.52-ก.พ.53)
 
 

รางวัล  
  • โล่รางวัล Valuable award จาก Highly innovation Unique Foundation (HIUF) ประเทศซาอุดิอาระเบีย (ระดับนานาชาติ) (2016)
   
  • เหรียญรางวัล Gold award จาก 2016 Kaohsiung International Invention and Design EXPO” (KIDE 2016) (ระดับนานาชาติ)
   
  • ถ้วยรางวัล Best International Intention Award จาก 2016 Kaohsiung International Invention and Design EXPO” (KIDE 2016) (ระดับนานาชาติ)
 
  • รางวัลนวัตกรรมและผลงานดีเด่น เรื่อง ผลิตภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ Bacillus megateriumสำหรับควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าว, ในโอกาสครบรอบ 40 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2550)
 
  • รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ดีเด่นเรื่อง Effervescent fast-disintegrating bacteria formulation for biological control of rice sheath blight ตีพิมพ์ใน Journal of Controlled Release Vol. 119 ปี 2007, ในงาน Nagai Award Thailand 2007 จาก The Nagai Foundation Tokyo (12 ธันวาคม 2550)
 
  • รางวัลนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่นเรื่อง Bacterial granule formulation for biological control of rice sheath blight, ในการประชุม RGJ-Ph.D Congress IX, อ. พัทยา จ.ชลบุรี (4-6 เมษายน 2551)
 
  • รางวัลผลงานดีเด่นของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2551 สาขาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เรื่อง การผลิตภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์รูปแบบฟู่สำหรับควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าวโดยชีววิธี
 
  • รางวัลยอดเยี่ยม ผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2552 เรื่อง ชีวภัณฑ์เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์บาซิลัสเมกาทีเรียมสำหรับควบคุมโรคกาบใบแห้งของข้าว