รายการทั้งหมด 7

สำหรับเจ้าหน้าที่เท่านั้น !

ชื่อ - สกุล เรื่องที่รายงาน ชื่อรายงาน วัตถุประสงค์ เนื้อหา องค์ความรู้ ประโยชน์ต่อตนเอง รายละเอียด
จินดารัตน์ สันติภราภพ ทดสอบ ทดสอบ ดีเยี่ยม - - PDF
เทอดพงษ์ วิริยะสมบัติ อบรมคอมพิวเตอร์ ทดสอบ 1 ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ PDF
ทัศนี ขาวเนียม ประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 21 ประจำปี 2567 1. เพื่อติดตามความก้าวหน้าและแนวโน้มใหม่ๆ ในงานวิจัยด้านพืชสวน โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความมั่นคงทางอาหาร รวมถึงศึกษาเทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่จากหน่วยงานชั้นนำของประเทศ จากการเข้าร่วมและนำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ จำนวน 2 เรื่อง ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 21 ดิฉันได้รับองค์ความรู้ที่ทันสมัยและน่าสนใจเกี่ยวกับพืชสวนทั้งในส่วนของภาคโปสเตอร์ ภาคบรรยาย และผ่านการบรรยายพิเศษหลายหัวข้อที่สอดคล้องกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการปรับปรุงพันธุ์พืชผักเพื่อความมั่นคงทางอาหารภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเพื่อรับมือกับความท้าทายด้านการผลิตอาหาร นอกจากนี้ยังมีการนำเสนอแนวคิดใหม่ในการใช้พืชสวนเพื่อการบำบัด (Horticultural Therapy) วิธีการและโจทย์วิจัยที่มีการดำเนินงานเกี่ยวกับ การอนุรักษ์พันธุ์พืชเพื่อรับมือภาวะโลกรวน และการเสวนาเกี่ยวกับอนาคตของการผลิตพืชสวน ซึ่งได้รับข้อมูลที่อัพเดท ประเด็นเร่งด่วน และความจำเป็นที่ประเทศไทยเราควรผลักดันเพื่อให้ทันกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วเกี่ยวกับโลกรวน รวมถึงได้มีโอกาสศึกษาดูงานเทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่ที่ สวทช. ทั้งระบบ Plant Factory สำหรับการผลิตพืชสมุนไพร ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช จุลินทรีย์ และธนาคารเมล็ดพันธุ์พืช ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการผลิตและการอนุรักษ์พันธุ์พืชในประเทศไทย การเข้าร่วมประชุมครั้งนี้ทำให้ได้รับความรู้ที่ทันสมัยในด้านการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและเทคโนโลยีการผลิตพืชสมัยใหม่ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและงานวิจัย การได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์กับนักวิชาการจากสถาบันต่างๆ ทำให้เกิดมุมมองใหม่ๆ ในการพัฒนางาน อีกทั้งการได้เยี่ยมชมเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ จากการศึกษาดูงานที่ สวทช. ยังช่วยเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานในอนาคต องค์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการประชุมวิชาการในครั้งนี้ สามารถนำมาพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน นอกจากนี้ การได้สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันต่างๆ ยังเป็นการเพิ่มโอกาสในการพัฒนางานวิจัยร่วมกันในอนาคต ซึ่งจะส่งผลดีต่อการพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านพืชสวนของหน่วยงาน รวมถึงเป็นการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก PDF
เทวี มณีรัตน์ อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ Per-Accelerator Program for Research to Commercialization (RECO) รุ่น Engage (SECA) 1. เพื่อเข้าร่วม “โปรแกรมเร่งพัฒนาศักยภาพและยกระดับความสามารถของนักวิจัยในการนำผลงานนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (Pre-Accelerator Program for Research to Commercialization (RECO))” RECO : Pre-Accelerator Program for Research to Commercialization (โปรแกรมเร่งพัฒนาศักยภาพและยกระดับความสามารถของนักวิจัย ในการนำผลงานนวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ) ริเริ่มและสนับสนุนโครงการโดย: หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ดำเนินการโดย: เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (iNT) มหาวิทยาลัยมหิดล องค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่ได้รับ่จากการเข้าร่วมอบรม ทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ประกอบด้วย - “Research to Market Canvas” Tool to Understand How to Conduct Your Research to Market - การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และฝึกการทดลองปฎิบัติ Creative Networking - “IP Checkups : Patent Landscape Analysis” How to Turn Patent Search Into Patent Strategy - การบรรยาย และการทดลองปฏิบัติด้วยหัวข้อ “Technology Evaluation Canvas" Tool to Assess User Needs, Technical Performance & Engaging Stakeholder - การวิเคราะห์ “OKRs for 4 Weeks Sprint” Tool to Visualize Your Roadmap ของผลิตภัณฑ์ การเห็นถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนาข้อเสนอโครงการสู่การใช้ประโยชน์การวิจัยเชิงพาณิชย์ จุดเริ่มต้นของการนำนวัตกรรมจากงานวิจัยมุ่งสู่การต่อยอดเชิงพาณิชย์ PDF
ธีญาภรณ์ แก้วทวี ประชุมวิชาการนวัตกรรมการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ครั้งที่ 3 และระดับนานาชาติครั้งที่ 1 (The 3 rd National 1st International Conference on Agricultural Innovation and Natural Resources นำเสนอผลงานวิจัย การวิจัยทางด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและการประมง ได้แก่ การเพาะเลี้ยงสาหร่ายช่อพริกไทยด้วยน้ำหมักชีวภาพจากเกล็ดปลากะพงขาว อัตราส่วนน้ำหมักต่อน้ำทะเล เท่ากับ 1:500 จะให้ผลการเจริญเติบโตของสาหร่ายสูงที่สุด ซึ่งการใช้น้ำหมักจากของเหลือทิ้งจากปลากะพงช่วยลดต้นทุนและของเสียได้ นอกจากนี้ยังได้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอนพืชน้ำเค็ม เพิ่มพูนความรู้และงานวิจัยทางด้านวาริชศาสตร์ และได้แลกเปลี่ยนผลงานวิจัยกับนักวิจัยจากหน่วยงานต่าง ๆ นำความรู้มาพัฒนางานด้านการวิจัยต่อไป PDF
ศรีนรา แมเร๊าะ สัมมนาเครือข่ายประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทณ์ ประจำปี 2567 1. จะได้เห็น-รับฟัง-ประสบการณ์ การทำงานของหน่วยงานที่ไปดูงาน 1. ทราบการสร้างงานด้าน AI เพิ่มขึ้นกว่าเดิม 2. ทราบแนวคิดการสร้างคอนเทนต์ขององค์กรสื่อใหญ่ๆ เช่น ไทยพีบีเอส 3. ทราบแนวคิดการสร้างสื่อโซเชียลของมหาวิทยาลัยรังสิต ได้แนวคิดใหม่ๆ จากการดูงานของกลุ่มทำงานด้านสื่อจากมหาวิทยาลัยรังสิต นำสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้การผลิตสื่อทั้งของไทยพีบีเอส และมหาวิทยาลัยรังสิต มาปรับใช้เผลแพร่ในสื่อโซเชียลของคณะทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งในเรื่องของแนวคิดและรูปแบบการนำเสนอ PDF
เทวี มณีรัตน์ อบรมเชิงปฏิบัติการโครงการ Per-Accelerator Program for Research to Commercialization (RECO) รุ่น Engage (SECA) ครั้งที่ 2 เพื่อเขารวม “โปรแกรมเรงพัฒนาศักยภาพและยกระดับความสามารถของนักวิจัยในการนำผลงานนวัตกรรมไปใชปร ะโยชนเชิงพาณิชยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ (Pre-Accelerator Program for Research to Commercialization (RECO))” RECO : Pre-Accelerator Program for Research to Commercialization (โปรแกรมเรงพัฒนาศักยภาพและยกระดับความสามารถของนักวิจัย ในการนำผลงานนวัตกรรม ไปใชประโยชนเชิงพาณิชยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ) ริเริ่มและสนับสนุนโครงการโดย: หนวยบริหารและจัดการทุนดานการเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ (บพข.) ดำเนินการโดย: เมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) รวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และสถาบันบริหารจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (iNT) มหาวิทยาลัยมหิดล องคความรู ความเขาใจ และทักษะที่ไดรับจากการเขารวมอบรม ทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ประกอบดวย - “Research to Market Canvas” Tool to Understand How to Conduct Your Research to Market - การแลกเปลี่ยนประสบการณ และฝกการทดลองปฎิบัติ Creative Networking - “IP Checkups : Patent Landscape แบบรายงานสรุปผลการเขารับการอบรม /ประชุม / สัมมนา /ศึกษาดูงาน Analysis” How to Turn Patent Search Into Patent Strategy - การบรรยาย และการทดลองปฏิบัติดวยหัวขอ “Technology Evaluation Canvas" Tool to Assess User Needs, Technical Performance & Engaging Stakeholder - การวิเคราะห “OKRs for 4 Weeks Sprint” Tool to Visualize Your Roadmap ของผลิตภัณฑ การเห็นถึงความเปนไปไดในการพัฒนาขอเสนอโครงการสูการใชประโยชนการวิจัยเชิงพาณิชย จุดเริ่มตนของการนำนวัตกรรมจากงานวิจัยมุงสูการตอยอดเชิงพาณิชย์ PDF